วันพฤหัสบดีที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2558

เมืองจัยซัลแมร์ Jaisalmerเมืองที่ได้รับสมญานามว่า “นครสีทอง”

ราชาสถาน ท่องแคว้นแดนฟ้าจรดทราย
เมืองจัยซัลแมร์ Jaisalmerเมืองที่ได้รับสมญานามว่า “นครสีทอง” ตั้งอยู่บนที่ราบสูง กลางที่ราบทะเลทรายธาร์ มีกำแพงสูงใหญ่ดูโอฬาร เป็นเมืองท่องเที่ยวที่อยู่ทางตะวันตกสุดของแคว้นราชาสถาน ในอดีตเคยเป็นเส้นทางการค้าที่ สำคัญระหว่างอินเดียกับตะวันออกกลาง นครแห่งนี้ก่อสร้างขึ้นจากหินทรายสีเหลืองเป็นส่วนใหญ่ เมื่อยามต้องแสงอาทิตย์อัสดงที่ไล้ลงบนพื้นผิวของหินเหล่านี้ ก็จะปรากฏให้เห็นเป็นสีทองอร่ามตา และนี่คือที่มาของสมญา “นครสีทอง”ด้วยเหตุที่ จัยซัลแมร์ เคยเป็นเส้นทางการค้าที่สำคัญ ส่งผลให้พ่อค้าวาณิชย์ในตระกูลดังๆ หลายๆคนร่ำรวยกันอย่างมหาศาล กลายเป็นอภิมหาเศรษฐี มีคฤหาสน์ที่ใหญ่โตมโหฬาร



เมืองที่ได้รับสมญานามว่า “นครสีทอง” ตั้งอยู่บนที่ราบสูง กลางที่ราบทะเลทรายธาร์ มีกำแพงสูงใหญ่ดูโอฬาร เป็นเมืองท่องเที่ยวที่อยู่ทางตะวันตกสุดของแคว้นราชาสถาน ในอดีตเคยเป็นเส้นทางการค้าที่ สำคัญระหว่างอินเดียกับตะวันออกกลาง นครแห่งนี้ก่อสร้างขึ้นจากหินทรายสีเหลืองเป็นส่วนใหญ่ เมื่อยามต้องแสงอาทิตย์อัสดงที่ไล้ลงบนพื้นผิวของหินเหล่านี้ ก็จะปรากฏให้เห็นเป็นสีทองอร่ามตา และนี่คือที่มาของสมญา “นครสีทอง”



เมืองที่ได้รับสมญานามว่า “นครสีทอง” ตั้งอยู่บนที่ราบสูง กลางที่ราบทะเลทรายธาร์ มีกำแพงสูงใหญ่ดูโอฬาร เป็นเมืองท่องเที่ยวที่อยู่ทางตะวันตกสุดของแคว้นราชาสถาน



ทะเลสาบกาดซิซาร์ (Gadsisar Lake) โอเอซิสขนาดมหึมาท่ามกลางทะเลที่สร้างโดยมหาราชาวาลกาดซี ราว ค.ศ.ที่ 14 ซึ่งทะเลสาบนี้เป็นแหล่งน้ำที่สำคัญของเมืองจัยแซลเมียร์ รอบๆ ทะเลสาบจะมีวัดเล็กๆ ในช่วงฤดูหนาวจะได้พบเห็นนกนานาชนิดโดยรอบทะเลสาบ รอบๆ ทะเลสาบจะมีวัดและอนุสรณ์สถานเล็กๆ สีเหลืองทองอร่าม ในอดีตด ทะเลสาบแห่งนี้เป็นแหล่งน้ำสำคัญของเมือง แต่ปัจจุบัน ใช้เป็นสถานที่จัดงานประเพณี “กานกัวร์” (Gangaur) ซึ่งจัดขึ้นในเดือนมีนาคม-เมษายน ของทุกปี โดยมีมหาราวัลของจัยแซลเมียร์เป็นผู้ทำนำพิธีด้วยตัวเอง ซึ่งประเพณีนี้ หญิงโสดจะโยนดอกไม้ลงไปในทะเลสาบและอธิษฐานขอคู่ชีวิตที่ดีๆ



นำท่านขี่อูฐสู่ทะเลทรายทาร์ ชม Sam Sand Dunes ห่างจากตัวเมืองออกไปราว 45 กิโลเมตรเป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่โด่งดังใน จัยซัลแมร์ เนินทรายแห่งนี้ เป็นที่ซึ่งโค้งขอบฟ้าจรดกับผืนแผ่นทรายได้อย่างงดงามเกินบรรยาย



นำท่านขี่อูฐสู่ทะเลทรายทาร์ ชม Sam Sand Dunes ห่างจากตัวเมืองออกไปราว 45 กิโลเมตรเป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่โด่งดังใน จัยซัลแมร์ เนินทรายแห่งนี้ เป็นที่ซึ่งโค้งขอบฟ้าจรดกับผืนแผ่นทรายได้อย่างงดงามเกินบรรยาย



นำท่านขี่อูฐสู่ทะเลทรายทาร์ ชม Sam Sand Dunes ห่างจากตัวเมืองออกไปราว 45 กิโลเมตรเป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่โด่งดังใน จัยซัลแมร์ เนินทรายแห่งนี้ เป็นที่ซึ่งโค้งขอบฟ้าจรดกับผืนแผ่นทรายได้อย่างงดงามเกินบรรยาย



นำท่านขี่อูฐสู่ทะเลทรายทาร์ ชม Sam Sand Dunes ห่างจากตัวเมืองออกไปราว 45 กิโลเมตรเป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่โด่งดังใน จัยซัลแมร์ เนินทรายแห่งนี้ เป็นที่ซึ่งโค้งขอบฟ้าจรดกับผืนแผ่นทรายได้อย่างงดงามเกินบรรยาย



ป้อมจัยซัลแมร์ (Jaisalmer Fort) ป้อมปราการขนาดใหญ่ที่อยู่ท่ามกลางทะเลสาบ สร้างโดย Bhatti Rajput rule Rawal Jaisal ค.ศ. 1156 โดยป้อมนี้ถือว่าเป็นป้อมที่สร้างลำดับที่ 2 ของรัฐราชสถาน รอบๆ ป้อมจัยแซลเมียร์มีหอรบถึง 99 หอ โดยศัตรูหลักของเมืองนี้คือ บรรดาเจ้าราชปุตของนครต่าง ๆ รวมถึงจักรพรรดิอัคบาร์แห่งโมกุล ซึ่งต่อมากลายเป็นเขยของเมืองนี้ไปในที่สุด ปัจจุบัน ป้อมจัยแซลเมียร์เป็นป้อมเดียวในอินเดียที่มีผู้คนอาศัยอยู่ด้านบนบนเขาทิตรีกูฏ



ป้อมจัยซัลแมร์ (Jaisalmer Fort) ป้อมปราการขนาดใหญ่ที่อยู่ท่ามกลางทะเลสาบ สร้างโดย Bhatti Rajput rule Rawal Jaisal ค.ศ. 1156 โดยป้อมนี้ถือว่าเป็นป้อมที่สร้างลำดับที่ 2 ของรัฐราชสถาน รอบๆ ป้อมจัยแซลเมียร์มีหอรบถึง 99 หอ โดยศัตรูหลักของเมืองนี้คือ บรรดาเจ้าราชปุตของนครต่าง ๆ รวมถึงจักรพรรดิอัคบาร์แห่งโมกุล ซึ่งต่อมากลายเป็นเขยของเมืองนี้ไปในที่สุด ปัจจุบัน ป้อมจัยแซลเมียร์เป็นป้อมเดียวในอินเดียที่มีผู้คนอาศัยอยู่ด้านบนบนเขาทิตรีกูฏ



พระราชวังของมหาราวัล (Palace of the Maharawal) ตั้งอยู่ด้านขวามือของป้อมจัยซัลแมร์ เป็นพระราชวังขนาด 5 ชั้น แบ่งเป็นห้องต่างๆ ซึ่งตกแต่งสวยงามตามสไตล์ราชปุต โดยห้องที่โดดเด่นที่สุดของที่นี่คือ กัชวิลล่าส์ (Gaj Villas) ซึ่งบุผนังด้วยกระเบื้องลายสีฟ้าเข้มจากประเทศฮอลแลนด์ นอกจากนี้ พื้นที่บางส่วนยังเป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงของใช้ส่วนตัวสมาชิกในราชวงศ์บาติให้ชมด้วย



พระราชวังของมหาราวัล (Palace of the Maharawal) ตั้งอยู่ด้านขวามือของป้อมจัยซัลแมร์ เป็นพระราชวังขนาด 5 ชั้น แบ่งเป็นห้องต่างๆ ซึ่งตกแต่งสวยงามตามสไตล์ราชปุต โดยห้องที่โดดเด่นที่สุดของที่นี่คือ กัชวิลล่าส์ (Gaj Villas) ซึ่งบุผนังด้วยกระเบื้องลายสีฟ้าเข้มจากประเทศฮอลแลนด์ นอกจากนี้ พื้นที่บางส่วนยังเป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงของใช้ส่วนตัวสมาชิกในราชวงศ์บาติให้ชมด้วย



พระราชวังของมหาราวัล (Palace of the Maharawal) ตั้งอยู่ด้านขวามือของป้อมจัยซัลแมร์ เป็นพระราชวังขนาด 5 ชั้น แบ่งเป็นห้องต่างๆ ซึ่งตกแต่งสวยงามตามสไตล์ราชปุต โดยห้องที่โดดเด่นที่สุดของที่นี่คือ กัชวิลล่าส์ (Gaj Villas) ซึ่งบุผนังด้วยกระเบื้องลายสีฟ้าเข้มจากประเทศฮอลแลนด์ นอกจากนี้ พื้นที่บางส่วนยังเป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงของใช้ส่วนตัวสมาชิกในราชวงศ์บาติให้ชมด้วย



วัดเชน (Jain Temples) ที่ตั้งอยู่บนป้อมจัยซัลแมร์ กลุ่มวัดเชนประกอบด้วยวัด 7 วัด มีวัดประธานซึ่งมีขนาดใหญ่สุดมีชื่อว่า จันทราปราพู (Chandraprabhu Temple) ตั้งอยู่ตรงข้ามกับเคาน์เตอร์ขายตั๋วเข้าชม



วัดเชน (Jain Temples) ที่ตั้งอยู่บนป้อมจัยซัลแมร์ กลุ่มวัดเชนประกอบด้วยวัด 7 วัด มีวัดประธานซึ่งมีขนาดใหญ่สุดมีชื่อว่า จันทราปราพู (Chandraprabhu Temple)



วัดศานตินาท (Shantinath Temple)



วัดศิตาลนาท (Shitalnath Temple)




วัดศิตาลนาท (Shitalnath Temple)



พระมหาวิระ



คฤหาสน์เสนาบดี หรือ ฮาเวลี (Haveli) : ฮาเวลีแบบจัยซัลแมร์นั้น สามารถสร้างโดยที่เจ้าของจะต้องมีเงินทองมากมายจึงจะทุ่มเงินสร้างคฤหาสน์ไว้อยู่อาศัยได้ แต่นอกจากความใหญ่โตแล้ว ฮาเวลีของเมืองจัยซัลแมร์นั้น มีลักษณะเฉพาะตัวไม่เหมือนเมืองอื่นๆ คือ เป็นคฤหาสน์ที่สร้างจากหินทรายสีทอง ส่วนอาคารชั้นล่างยกสูงจากพื้นเพื่อป้องกันฝุ่นจากทะเลทราย



ฮาเวลีพัทวันกี (Patwon Ki Haveli) มีขนาดใหญ่และหรูหรามที่สุดในบรรดาฮาเวลีด้วยกัน เพราะเจ้าของเป็นนักธุรกิจ ซึ่งร่ำรวยที่สุดในยุคนั้นชื่อ กุมัน ซันด์ พัตวา (Guman Chand Patwa) และใช้เวลาสร้างถึง 50 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1805 มีจุดเด่นอยู่ตรงจาโรกัสที่มีมากถึง 66 ระเบียง



ฮาเวลีพัทวันกี (Patwon Ki Haveli) มีขนาดใหญ่และหรูหรามที่สุดในบรรดาฮาเวลีด้วยกัน เพราะเจ้าของเป็นนักธุรกิจ ซึ่งร่ำรวยที่สุดในยุคนั้นชื่อ กุมัน ซันด์ พัตวา (Guman Chand Patwa) และใช้เวลาสร้างถึง 50 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1805 มีจุดเด่นอยู่ตรงจาโรกัสที่มีมากถึง 66 ระเบียง



ฮาเวลีพัทวันกี (Patwon Ki Haveli) มีขนาดใหญ่และหรูหรามที่สุดในบรรดาฮาเวลีด้วยกัน เพราะเจ้าของเป็นนักธุรกิจ ซึ่งร่ำรวยที่สุดในยุคนั้นชื่อ กุมัน ซันด์ พัตวา (Guman Chand Patwa) และใช้เวลาสร้างถึง 50 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1805 มีจุดเด่นอยู่ตรงจาโรกัสที่มีมากถึง 66 ระเบียง



ฮาเวลีซาลิมซิงห์กี (Salim Singh Ki Haveli) คฤหาสน์ทรงดอกเห็ด สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1815 เจ้าของเดิม เจ้าของดั้งเดิมคือ ท่านซาลิม ซิงห์ (Salim Singh) ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยนั้น ที่สำคัญ ฮาเวลีแห่งนี้ยังมีรูปทรงเฉพาะตัวคือ ชั้นล่างกว้างแต่ชั้นบนแคบลงเหมือนดอกเห็ด โดยส่วนที่เหมือนดอกเห็ดนั้น ถือเป็นจุดเด่นของคฤหาสน์นี้ เพราะประกอบด้วยซุ้มโค้งทั้งหมด 38 โค้ง มีโดมด้านบนตกแต่งด้วยกระเบื้องสีน้ำเงิน นอกจากนี้ ยังมีจุดเด่นที่งานแกะสลักของแต่ละระเบียง ซึ่งสวยงามและมีลวดลายที่แตกต่างกันในแต่ละระเบียง



ฮาเวลีพัทวันกี (Patwon Ki Haveli) มีขนาดใหญ่และหรูหรามที่สุดในบรรดาฮาเวลีด้วยกัน เพราะเจ้าของเป็นนักธุรกิจ ซึ่งร่ำรวยที่สุดในยุคนั้นชื่อ กุมัน ซันด์ พัตวา (Guman Chand Patwa) และใช้เวลาสร้างถึง 50 ปี โดยเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1805 มีจุดเด่นอยู่ตรงจาโรกัสที่มีมากถึง 66 ระเบียง



ฮาเวลีนาทมาลจีกี (Nathmalji Ki Haveli) สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1855 เพื่อเป็นที่พำนักของท่านดิวัน โมฮาตา นาทมาล (Diwan Mohata Nathmal) ซึ่งเป็นนายกรัฐมนตรีที่ขึ้นดำรงตำแหน่งแทนท่านซาลิม แต่เพราะท่านถูกลอบสังหาร ขณะกำลังสร้างคฤหาสน์ของตัวเอง จึงไม่มีรายละเอียดที่กล่าวถึงคฤหาสน์นี้มากนัก โดยฮาเวลีนี้ มีความสูงถึง 5 ชั้น มีห้อง 40 ห้อง (ปัจจุบัน บางส่วนยังมีคนอาศัยอยู่) มีจุดเด่นอยู่ตรงการแกะสลักรูปช้างหน้าทางเข้า และงานแกะสลักผนังสองด้านที่ดูแตกต่างกัน เนื่องจากตอนก่อสร้าง ช่าง 2 คนพี่น้องที่แบ่งกันแกะสลักทำออกมาไม่เหมือนกัน แต่ปัจจุบัน ความแตกต่างกลับกลายเป็นเสน่ห์ของฮาเวลี โดยลวดลายแกะสลักของฮาเวลีแห่งนี้ ได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตกเข้ามาผสมผสานด้วย เช่น การแกะสลักรูปรถม้า

ดูสถานที่ท่องเที่ยวอื่นต่อได้ที่



https://www.facebook.com/planetbluetravel

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น